Anon Biotec web board
Would you like to react to this message? Create an account in a few clicks or log in to continue.

Mail from Prof. Giuseppe Venturella Department of Agricultural and Forest Sciences University of Palermo เมล์จากศาสตราจารย์ เวนทูเรนลา จากมหาวิทยาลัย พาเลอโม ประเทศอิตาลี เรื่อง เห็ดกระถินพิมานไทย

Go down

Mail from Prof. Giuseppe Venturella Department of Agricultural and Forest Sciences University of Palermo เมล์จากศาสตราจารย์ เวนทูเรนลา จากมหาวิทยาลัย พาเลอโม ประเทศอิตาลี เรื่อง เห็ดกระถินพิมานไทย Empty Mail from Prof. Giuseppe Venturella Department of Agricultural and Forest Sciences University of Palermo เมล์จากศาสตราจารย์ เวนทูเรนลา จากมหาวิทยาลัย พาเลอโม ประเทศอิตาลี เรื่อง เห็ดกระถินพิมานไทย

ตั้งหัวข้อ  Pai_Anonworld Wed Sep 25, 2013 11:32 pm

Dear Prof. Auetragul and Ms. Euatrakool,
this is Giuseppe Venturella one of the colleagues attending the last Medicinal Mushrooms meeting in Beijing (China). As you probably remember you gave me a sample of a lignicolous mushroom which grow on Shorea in your country.
I am starting to check the microscopy of the sample you gave me and I have some questions:
a) Do you know the species of Shorea on which the mushroom grows? It is Shorea robusta?
b) Which are the medicinal use of the mushroom growing on SHorea in your country?
c) Which are the local names of the mushroom growing on SHorea in your country?
Waiting your answer
Best regards
Giuseppe Venturella

Prof. Giuseppe Venturella
Department of Agricultural and Forest Sciences
University of Palermo

ศาสตราจารย์ เวนทูเรนลา จากมหาวิทยาลัยพาเลอโม ประเทศอิตาลี ซึ่งเป็นตัวแทนจากรัฐบาลอิตาลี เดินทางไปประชุมเห็ดเป็นยาโลก ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีน และได้เข้าฟังการบรรยายเรื่อง เห็ดกระถินพิมานใช้รักษาโรคในประเทศไทย โดย ดร.อานนท์ เอื้อตระกูล เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2556 ที่ผ่านมา โดย ดร.อานนท์ ได้ให้ตัวอย่างเห็ดกระถินพิมานหรือเห็ดจ้าวหลินจือแก่ ศ.เวนทูเรนลาไป ซึ่งท่านก็ได้ติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมดังนี้
ก. ตัวอย่างที่ได้ไปนั้น เป็นเห็ดที่เกิดขึ้นตามต้นแงะ หรือต้นเค็งที่มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Shorea robusta ใช่หรือไม่
ข. ใช้เป็นยารักษาโรคอะไรในไทย
ค. เห็ดที่เกิดขึ้นตามต้นแงะนั้น มีชื่อท้องถิ่นว่าอะไร
Pai_Anonworld
Pai_Anonworld

จำนวนข้อความ : 1316
Join date : 29/11/2010
Age : 41

http://www.anonworld.com

ขึ้นไปข้างบน Go down

Mail from Prof. Giuseppe Venturella Department of Agricultural and Forest Sciences University of Palermo เมล์จากศาสตราจารย์ เวนทูเรนลา จากมหาวิทยาลัย พาเลอโม ประเทศอิตาลี เรื่อง เห็ดกระถินพิมานไทย Empty Dr. Anon Auetragul given details on Thai Phellinus linteus mushroom to Prof. Venturella from Italy

ตั้งหัวข้อ  Pai_Anonworld Wed Sep 25, 2013 11:45 pm

Dear Prof. Venturella,
Million thank for your kind introduction and prompt action concerning Phellinus linteus mushroom given to you whilst we were together in Beijing recently. Dr. Dai who is the mushroom specialist in Beijing and dealing with this mushroom has recently confirmed that this mushroom is under Inonotus linteus which is similar to Phellinus linteus. We have just again sent him with fresh sample for him to trace DNA pattern to reconfirm his finding.

Below herein to reply your queries as the followings :

a. You are definitely correct , this mushroom grow naturally and abundantly in Acacia tomentosa Willd. and Shorea obtusa Wall.ex Blume in our hometown (phrae , Lumpang, Chiangmai, Mai Hongson province and also in the North East region.

b. It has been widely used as a main ingredient for various concoction formulae as given in the article for IMMC7 by me. In Thailand we do not use medicinal mushroom alone to treat human sickness it has to come along with other useful herbs as mentioned. The most important treatment by using this mushroom as major ingredient could be liver cancer, Prostate cancer particularly for Autoimmune disorder like diabetes type II, HIV's, ITP, SLE and amyloides

c. Depending on its host ie. if originally this mushroom grow on Acacia tomentosa where being called locally as Kra-Tin-Narong then this mushroom is called Hed Kra-Tin-Narong (Hed = mushroom), likewise those grow in Shorea obtusa where the Northern people call this plant as Jigg, then this mushroom is called Hed Jigg, the North-East people call this tree as Keng, it is therefore the local name would be Hed Keng.

Hopefully all information could be met with your questions and please fell free to contact us if we are in your need we would be as your disposal.


Warmest regards

Prof. Dr. Anon Auetragul
ดร.อานนท์ ตอบข้อข้องใจของ ศ.เวนทูเรนลา จากอิตาลี ดังนี้

ก. ใช่ เห็ดที่ท่านได้ตัวอย่างไปนั้น เป็นเห็ดที่เกิดขึ้นบนต้นแงะ หรือต้นจิก(ภาษาเหนือ) ต้นเค็งหรือต้นจิก(ภาษาอิสาน) ชื่อทางวิทยาศาสตร์ คือ Shorea obtusa Wall.ex Blume และเกิดขึ้นบนต้นกระถินพิมาน ชื่อวิทยาศาสตร์ คือ Acacia tomentosa Willd

ข. เห็ดชนิดนี้ ใช้กันอย่างแพร่หลายของคนในท้องถิ่มทางภาคเหนือและอิสาน แต่จะใช้เป็นส่วนประกอบกับสมุนไพรอย่างอื่น ตามสูตรที่ให้ไว้แก่ กระทรวงสาธารณสุข ในหนังสือ เห้ดเป็นยาของกระทรวงที่แจกฟรี โรคที่นิยมใช้เห็ดกระถินพิมานฌป้นส่วนประกอบหลักที่สำคัญได้แก่ โรคมะเร็งต่างๆ โดยเฉพาะมะเร็งตับ มะเร็งต่อมลูกหมาก เบาหวาน ภูมิคุ้มกันบกพร่อง เช่น เอดส์ เอสแอลอี ไอทีพี เป็นต้น

ค. สำหรับชื่อเรียกตามท้องถิ่นนั้น ขึ้นอยู่กับว่า เห็ดชนิดนี้ ขึ้นอยู่บนต้นอะไร ยกตัวอย่างเช่น ทางภาคเหนือ เกิดขึ้นตามต้นแงะหรือต้นจิก จึงเรียกเห็ดชนิดนี้ว่า เห็ดจิก ทางอิสาน เรียกต้นแงะหรือต้นจิกตามภาษาท้องถิ่นว่า ต้นเค็ง จึงเรียกเห็ดชนิดนี้ว่า เห็ดเค็ง หากขึ้นกับต้นกระถินพิมาน ก็จะเรียกว่า เห็ดกระถินพิมาน
Pai_Anonworld
Pai_Anonworld

จำนวนข้อความ : 1316
Join date : 29/11/2010
Age : 41

http://www.anonworld.com

ขึ้นไปข้างบน Go down

Mail from Prof. Giuseppe Venturella Department of Agricultural and Forest Sciences University of Palermo เมล์จากศาสตราจารย์ เวนทูเรนลา จากมหาวิทยาลัย พาเลอโม ประเทศอิตาลี เรื่อง เห็ดกระถินพิมานไทย Empty Prof. Venturella will be interested in contribute to the ecological aspect of your studies and be part of possible join publication on P. linteus. ศาสตราจารย์เวนทูเรนลา กำลังดำเนินการ เอาเรื่อง เห็ดกระถินพิมานที่เกิดบนต้นจิกหรือต้นเค็งและต้นกระถินพิมาน ลง

ตั้งหัวข้อ  Pai_Anonworld Sat Oct 05, 2013 7:52 am

นับว่าเร็วมากๆ ที่หลังจาก มีการแลกเปลี่ยนทัศนะกันระหว่างนักวิชาการเกี่ยวกับเห็ด โดย อ.อรทัย เอื้อตระกูล และ ดร.อานนท์ เอื้อตระกูล กับผู้เชี่ยวชาญด้านเห็ดจากทั่วโลก ในเรื่อง ของเห็ดกระถินพิมาน ที่ยังเป็นข้อถกเถียงกันว่า เห็ดกระถินพิมานของไทยนั้น มีชื่อวิทยาศาสตร์และข้อมูลทางวิชาการเช่นไร ซึ่งการเดินทางไปร่วมการประชุมทางวิชาการเกี่ยวกับเห็ดเป็นยาของโลกที่กรุงปักกิ่งนั้น มีนักวิชาการที่มีประสบการณ์และความสามารถด้านนี้ ได้เสนอตัวที่จะช่วยในการไขข้อข้องใจ ขณะเดียวกัน ก็มีอีกหลายท่านที่รู้สึกตื่นเต้น ที่ทราบว่า เห็ดชนิดนี้ เคยมีอยู่ดาษดื่นทั่วไปในประเทศไทย แต่ไม่เคยมีข้อมูลทางวิชาการในระดับสากลว่า เป็นเห็ดที่มีกำหนิดในประเทศไทย ที่แตกต่างไปจากที่อื่น ด้วยเหตุนี้ ศาสตราจารย์เวนทูเรนลา ในฐานะที่เป็นอาจารย์สอนทางด้านนิเวศน์วิทยาป่าไม้ ของประเทศอิตาลี ท่านมีความเมตตา ที่อยากจะให้เห็ดชนิดนี้เป็นที่รู้จักในต่างประเทศ ท่านจึงเสนอว่า ท่านจะเอาเรื่องสถานที่เกิด แหล่งที่เกิด และชื่อท้องถิ่นของเห็ดกระถินพิมาน ตีพิมพ์ในเอกสารทางวิชาการระหว่างประเทศ ดังที่ท่านได้ส่งเมล์โต้ตอบมาหา ดร.อานนท์ ดังนี้

On Wed, Oct 2, 2013 at 2:42 PM, Giuseppe Venturella <
giuseppe.venturella@unipa.it> wrote:

Dear Prof. Auetragul
thank you for information and sorry for delay in reply to your message. I
am very fascinating on this Phellinus growing on Shorea and Acacia. Do you
know if these host plants are reported in any scientific publication? If
not Since I am a mycologist and also teaching Forest Botany I will be
interested in contribute to the ecological aspect of your studies and be
part of possible join publication on P. linteus.
Please let me know if you agree with such proposal.

Best regards
Giuseppe Venturella

ดร.อานนท์ ได้ตอบยอมรับและเห็นด้วย ที่ศาสตราจารย์ เวนทูเรนล่า ให้ดำเนินการเผยแพร่ข้อมูลเรื่อง เห็ดกระถินพิมานในระดับนานาชาติได้ด้วยความยินดี

Dear Professor Auetragul
thank you for your kind answer and acceptance of my proposal of
collaboration on Phellinus linteus host plants. I will quickly start
to work on it. If I need additional information on Thai documents I
will ask to you.
Best regards
Giuseppe Venturella
Anon Auetragul <anonbiotec@gmail.com> ha scritto:

Dear Prof. Venturella,

I have definitely and fully agreed with your proposal since there is none
literature or report scientifically on P. linteus on Shorea and Acacea
plants apart from Thai documents, if possible please go ahead and if you
need any further information, please do not hesitate to let me know.

Best regards

Prof. Anon Auetragul



Pai_Anonworld
Pai_Anonworld

จำนวนข้อความ : 1316
Join date : 29/11/2010
Age : 41

http://www.anonworld.com

ขึ้นไปข้างบน Go down

ขึ้นไปข้างบน


 
Permissions in this forum:
คุณไม่สามารถพิมพ์ตอบ